Page 422 - NEIC_FINAL REPORT
P. 422

 2-248
3) ระบบผลิตไฟฟ้าจาแนกตามผู้ผลิตไฟฟ้า
- กํารไฟฟ้ําฝ่ํายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) หมํายถึง โรงไฟฟ้ําของกํารไฟฟ้ําฝ่ํายผลิตแห่งประเทศไทย
- กํารไฟฟ้ําส่วนภูมิภําค (กฟภ.) หมํายถึง โรงไฟฟ้ําของกํารไฟฟ้ําส่วนภูมิภําค
- กรมพฒั นําพลงั งํานทดแทนและอนรุ กั ษพ์ ลงั งําน (พพ.) / องคก์ ํารบรหิ ํารสว่ นตํา บล หมํายถงึ โรงไฟฟํา้ ของกรมพฒั นํา
พลังงํานทดแทนและอนุรักษ์พลังงําน หรือ องค์กํารบริหํารส่วนตําบล
- ผู้ผลิตไฟฟ้ําเอกชนรํายใหญ่ (Independent Power Producer: IPP) หมํายควํามว่ํา ผู้ผลิตไฟฟ้ําที่มีกําลังกํารผลิต
ไฟฟ้ําที่ขํายเข้ําระบบมํากกว่ํา 90 เมกะวัตต์
- ผู้ผลิตไฟฟ้ํารํายเล็ก (Small Power Producer: SPP) หมํายควํามว่ํา ผู้ผลิตไฟฟ้ําที่มีกําลังผลิตไฟฟ้ําท่ีขํายเข้ําระบบ
มํากกว่ํา 10 เมกะวัตต์ แต่ไม่เกิน 90 เมกะวัตต์ ทั้งนี้แบ่งประเภทเป็น 2 ประเภทสัญญํา
o SPP ประเภทสัญญํา Firm หมํายถึง กํารทําสัญญําซื้อขํายไฟฟ้ํา ตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป และมีกํารจ่ํายค่ําพลังไฟฟ้ํา
(Capacity payment)
o SPPประเภทสัญญําNon-firmหมํายถึงกํารทําสัญญําซ้ือขํายไฟฟ้ําไม่เกิน5ปีและจะได้รับเฉพําะค่ําพลังงําน
ไฟฟ้ํา (Energy payment)
- ผผู้ ลติ ไฟฟํา้ ขนําดเลก็ มําก (Very Small Power Producer: VSPP) หมํายควํามวํา่ ผผู้ ลติ ไฟฟํา้ ทมี่ กี ํา ลงั กํารผลติ ไฟฟํา้
ทขี่ ํายเขํา้ ระบบไฟฟํา้ ไมเ่ กนิ 10 เมกะวตั ต์ ปจั จบุ นั สํามํารถแบง่ โครงกําร VSPP ตํามประเภทกํารสง่ เสรมิ กํารผลติ ไฟฟํา้ จํากพลงั งําน หมุนเวียน เป็น 2 แบบ คือแบบส่วนเพิ่มรําคํารับซื้อไฟฟ้ํา (Adder) และแบบอัตรํารับซื้อไฟฟ้ําในรูปแบบ Feed-in-Tariff (FiT) - ผู้ผลิตไฟฟ้ํานอกสัญญํา (Independent Power Supplier: IPS) หมํายควํามว่ํา ผู้ผลิตไฟฟ้ําทั้งภําคเอกชน รัฐบําล รฐั วสิ ําหกจิ หรอื ประชําชนทวั่ ไปทม่ี เี ครอื่ งกํา เนดิ ไฟฟํา้ ของตนเอง และผลติ ไฟฟํา้ เพอื่ ใชเ้ องหรอื ขํายใหป้ ระชําชนโดยไมข่ ํายไฟฟํา้ ให้กับกํารไฟฟ้ํา แต่ขอเชื่อมต่อเข้ํากับระบบของกํารไฟฟ้ําและได้รับอนุญําตให้เชื่อมต่อแล้ว ตํามข้อกําหนดเก่ียวกับกํารเชื่อมต่อ
ระบบโครงข่ํายไฟฟ้ําของกํารไฟฟ้ํา
4) ระบบผลิตไฟฟ้าจาแนกตามการใช้ประโยชน์
- โรงไฟฟ้ําท่ีใช้ประโยชน์เฉพําะไฟฟ้ํา (Power Generation) หมํายควํามว่ํา ระบบผลิตพลังงํานไฟฟ้ํา
- โรงไฟฟ้ําที่ใช้ประโยชน์ทั้งไฟฟ้ําและควํามร้อน (Co-generation) หมํายควํามว่ํา ระบบผลิตพลังงํานไฟฟ้ํา โดยใช้ ประโยชน์ได้ 2 อย่ําง ได้แก่ ไฟฟ้ําและควํามร้อน หรือไฟฟ้ําและควํามเย็นร่วมกัน เป็นต้น
- โรงไฟฟ้ําท่ีใช้ประโยชน์ท้ังไฟฟ้ํา ควํามร้อน และควํามเย็น (Tri-generation) หมํายควํามว่ํา ระบบผลิตพลังงํานไฟฟ้ํา โดยใช้ประโยชน์ได้ 3 อย่ําง ได้แก่ ควํามร้อนและไฟฟ้ําร่วมกัน และนําพลังงํานควํามร้อนในรูปไอน้ําที่เหลือไปใช้ในกระบวน กํารผลิต และกํารทําน้ําเย็นไปใช้ในระบบปรับอํากําศและหล่อเย็นในโรงงําน
นอกจํากนี้ยังมีระบบผลิตไฟฟ้ําอื่นๆ ประกอบไปด้วย
“Captive Power” หมํายควํามว่ํา พลังงํานไฟฟ้ําสําหรับกํารใช้เฉพําะในพ้ืนท่ีของตนเอง ใช้ในภําคอุตสําหกรรมหรือธุรกิจ ขนําดใหญ่ ซึ่งจะขนํานเครื่องกับระบบไฟฟ้ําของประเทศ
2.2.2.1.2 ถ่านหิน (Coal)
ถ่ํานหิน (coal) เป็นเช้ือเพลิงธรรมชําติ เกิดจํากกํารสะสมตัวตํามธรรมชําติของซํากพืชในแอ่งตะกอน น้ําตื้น ถ่ํานหินเป็น หินตะกอนชนิดหนึ่งซึ่งสํามํารถติดไฟได้ มีส่วนประกอบที่สําคัญคือ สํารประกอบของคําร์บอน ซึ่งจะมีอยู่ประมําณไม่น้อยกว่ํา ร้อยละ 50 โดยปริมําณถ่ํานหินมีกําเนิดมําจํากกํารเปล่ียนแปลงตํามธรรมชําติของพืชพันธุ์ไม้ต่ํางๆ ที่สลํายตัวและสะสมอยู่ใน ลุ่มน้ําหรือแอ่งน้ําต่ํางๆ นับเป็นเวลําหลํายร้อยล้ํานปี เมื่อเกิดกํารเปลี่ยนแปลงของผิวโลกเช่น เกิดแผ่นดินไหว ภูเขําไฟระเบิด หรือมีกํารทับถมของตะกอนมํากขึ้น ทําให้แหล่งสะสมตัวนั้นได้รับควํามกดดันและควํามร้อนที่มีอยู่ภํายในโลกเพิ่มขึ้น ซํากพืช เหล่ํานั้นก็จะเกิดกํารเปลี่ยนแปลงกลํายเป็นถ่ํานหินชนิดต่ํางๆ
Strategic Design and Development Study of the National Energy Information Center to Support National Energy Plan โครงการศึกษาการจัดทําาแผนยุทธศาสตร์และออกแบบการพัฒนาศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติ เพื่อรองรับการใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ในการขับเคล่ือนแผนพลังงานของประเทศไทย









































































   420   421   422   423   424