Page 154 - NEIC_FINAL REPORT
P. 154
2-12
- เมอ่ื มชี นดิ ขอ้ มลู เขํา้ มําใหมท่ ํางระบบยงั ไมส่ ํามํารเกบ็ ขอ้ มลู ในเบอื้ งตน้ ไดท้ นั ที โดยจะตอ้ งทํา กํารสรํา้ งชนดิ ข้อมูลนั้นก่อนนําเข้ํา เช่น ช่ือของน้ํามันดิบของแต่ละประเทศ จะใช้ชื่อเรียกน้ํามันดิบไม่เหมือนกัน และมี ข้อมูลชื่อน้ํามันดิบ หรือชื่อประเทศใหม่ ๆ เข้ํามําตลอดเวลํา ซึ่งทํางผู้ดําเนินกํารต้องตั้งชื่อชนิดน้ํามันดิบ หรือชื่อประเทศเหล่ํานั้นเข้ํามําในฐํานข้อมูลก่อนจึงจะทํากํารนําข้อมูลเข้ําสู่ระบบได้
- พบข้อมูลปริมําณรวมไม่เท่ํากับรําคําคูณด้วยปริมําณในกํารจัดซื้อ ถ้ําผู้ใช้งํานข้อมูลไม่มีควํามเข้ําใจอําจ ทําให้เกิดกํารนําข้อมูลไปใช้อย่ํางผิดพลําด
- มขี อ้ มลู หลํายสว่ นทที่ ํา กํารเกบ็ ขอ้ มลู แตย่ งั ไมไ่ ดน้ ํา มําเปรยี บเทยี บ หรอื สรํา้ งใหเ้ หน็ เปน็ หว่ งโซอ่ ปุ ทํานของ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
- มีโอกําสเกิดควํามล่ําช้ําและควํามไม่สม่ําเสมอของข้อมูลในบํางรอบกํารปรับปรุงข้อมูล เนื่องจํากกํารส่ง ข้อมูลมําโดยรํายบุคคล
- ข้อมูลที่ได้บํางส่วนยังไม่มีกํารจัดเก็บเนื่องจํากระบบฐํานข้อมูลเดิมไม่รองรับ
- ยงั ไมพ่ บกํารนํา ขอ้ มลู มําเชอื่ มโยงกนั ใหเ้ หน็ ชดั เจนในเรอ่ื งของหว่ งโซอ่ ปุ ทําน จํากแหลง่ ผลติ โรงกลน่ั กํารนํา เขํา้
กํารส่งออก เพ่ือนํามําวํางแผนและกําหนดนโยบํายจํากข้อมูลดิบที่มี เช่น ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมบํางชนิด
ไม่ทรําบแหล่งที่ไป ว่ํานําไปใช้ประโยชน์ปลํายทํางที่ไหน อย่ํางไร
- กลมุ่ บรษิ ทั ตํา่ ง ๆ นนั้ สํามํารถแยกรํายละเอยี ดประเภทกลมุ่ ไดเ้ พมิ่ เตมิ เชน่ รฐั บําล เอกชน และรฐั วสิ ําหกจิ
สํามํารถนํามําวิเครําะห์และทําให้เห็นภําพในเชิงของกลุ่มได้หลํากหลํายมิติมํากข้ึน เป็นต้น
- กํารวเิ ครําะหก์ ํารบรโิ ภคภํายในประเทศนนั้ เกดิ จํากปรมิ ําณกํารขํายนํา้ มนั สํา เรจ็ รปู เพยี งอยํา่ งเดยี ว ทํา ให้
มีโอกําสมองภําพกํารใช้พลังงํานในส่วนของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไม่ครบทุกภําคส่วน
- กํารนํา เขํา้ ขอ้ มลู ยงั เปน็ แบบ Manual เชน่ ขอ้ มลู กํารนํา เขํา้ กํา๊ ซธรรมชําติ ทํา ใหม้ โี อกําสเกดิ ควํามผดิ พลําด
ระหว่ํางถ่ํายโอนข้อมูลสู่ระบบฐํานข้อมูล
- เมื่อมีข้อมูลแหล่งปิโตรเลียมใหม่ หรือมีกํารเปล่ียนชื่อ ผู้ดําเนินกํารต้องทํากํารตรวจสอบเอง และต้อง
ยืนยันควํามถูกต้องของข้อมูลก่อนนํามําใช้ ซึ่งอําจมีควํามผิดพลําดเกิดขึ้น
- ข้อมูลกํารใช้น้ํามันเตํายังมีส่วนที่ต้องไปดึงข้อมูลเองจํากเว็บของกรมธุรกิจพลังงําน ในส่วนของกํารจัดหํา
และจัดจําหน่ํายในส่วนของภําคขนส่ง ซึ่งผู้นําเข้ําข้อมูลจะต้องนําเข้ําระบบฐํานข้อมูลด้วยตนเอง
- กํารกรอกข้อมูลรําคําน้ํามัน ผู้จัดทําต้องใช้ควํามชํานําญในกํารนําเข้ําข้อมูลจํากแหล่งข้อมูลต้นทํางหลําย แหล่ง ซ่ึงเก่ียวข้องกับอัตรําแลกเปล่ียน ซึ่งหน่วยตัวคูณอําจมีควํามแตกต่ํางกัน รวมถึงแหล่งข้อมูลรําคํา น้ํามันในแต่ละประเทศน้ันต้องมีควํามน่ําเชื่อถือ และต้องทํากํารแปลงหน่วย ณ จุดนี้สํามํารถทํากําร
ตรวจทํานข้อมูลอัตโนมัติได้มํากขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงโอกําสที่จะนําเข้ําข้อมูลผิดพลําด 3) กํารผลิตไฟฟ้ํา กํารนําเข้ําไฟฟ้ํา กํารจําหน่ํายและกํารใช้ไฟฟ้ํา
ภําพรวมข้อมูลไฟฟ้ําที่ได้นั้น เป็นข้อมูลในส่วนตั้งต้นกํารผลิตพลังงํานไฟฟ้ํา และกํารใช้พลังงํานไฟฟ้ําของประเทศไทย โดย ด้ํานกํารผลิตไฟฟ้ําประกอบด้วย ปริมําณไฟฟ้ําท่ีผลิตได้ เชื้อเพลิงที่ใช้ผลิตไฟฟ้ํา ข้อมูลโรงงํานผลิตไฟฟ้ํา ปริมําณไฟฟ้ําที่ใช้ใน โรงงําน ปริมําณไฟฟ้ําที่ผลิตได้ (NET) ที่ต้ังโรงงํานผลิตไฟฟ้ํา ปริมําณไฟฟ้ําท่ีนําเข้ํา สัญญํากํารผลิตไฟฟ้ํากับ กํารไฟฟ้ําฝ่ํายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ส่วนกํารขํายและกํารใช้ไฟฟ้ํานั้น ประกอบด้วย ข้อมูลปริมําณกํารขํายไฟฟ้ํา ปริมําณกํารส่งออกไฟฟ้ํา ใหก้ บั ตํา่ งประเทศ รําคําขํายใหก้ บั ตํา่ งประเทศ tariff กํารผลติ ไฟฟํา้ ของโรงงํานผลติ ไฟฟํา้ ขนําดเลก็ เพอื่ ขํายนอกระบบ grid และ ปริมําณกํารใช้ไฟฟ้ํารํายจังหวัด
โดยข้อมูลด้ํานกํารผลิตไฟฟ้ําจะได้ข้อมูลจําก กฟผ. และคณะกรรมกํารกํากับกิจกํารพลังงําน (กกพ.) (เฉพําะในส่วนของ โรงผลิตไฟฟ้ําขนําดเล็ก และโรงไฟฟ้ําที่ผลิตและจําหน่ํายขํายไฟนอกระบบ grid) โดยจะมขี ้อมูลกํารผลิตไฟฟ้ําของโรงไฟฟ้ําของ กฟผ. ผู้ผลิตไฟฟ้ําเอกชนขนําดใหญ่ (IPP) ผู้ผลิตไฟฟ้ํารํายเล็ก (SPP) ผู้ผลิตไฟฟ้ํารํายเล็กมําก (VSPP) และผู้ผลิตไฟฟ้ําขํายเอง โดยไมจ่ ําหนํา่ ยเขํา้ ระบบ (IPS) และผผู้ ลติ ไฟฟํา้ จํากตํา่ งประเทศ ซง่ึ ประกอบดว้ ย ปรมิ ําณกํารผลติ ไฟฟํา้ จรงิ ปรมิ ําณไฟฟํา้ ทใี่ ชใ้ น โรงงําน ปริมําณกํารผลิตไฟฟ้ําสุทธิ พลังงํานไฟฟ้ําสูงสุด ณ เวลํา Peak ของเดือน กํารใช้ประเภทเชื้อเพลิงและปริมําณเชื้อเพลิง
Strategic Design and Development Study of the National Energy Information Center to Support National Energy Plan โครงการศึกษาการจัดทําาแผนยุทธศาสตร์และออกแบบการพัฒนาศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติ เพื่อรองรับการใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ในการขับเคล่ือนแผนพลังงานของประเทศไทย