Page 688 - NEIC_FINAL REPORT_Appendix
P. 688

 •
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ข้อมูลไม่ทันสมัย มาไม่พร้อมกัน (Timeliness Frequency) ข้อมูลที่ต้องมีการจัดหายังขาดงบประมาณ
ข้อมูลล่าช้า ไม่สม่ําเสมอเปล่ียนรูปแบบ (Inconsistency) ข้อมูลเดียวกันแต่มีช่ือหรือCategoryแตกต่างกัน((Inconsistency) ข้อมูลที่ต้องการเพ่ิมเติม(Needs)
ข้อมูลขาดหาย (Missing Date)
ข้อมูลจัดเก็บกระจัดกระจาย(Scattering)
ข้อมูลซ้ําซ้อน ค่าไม่ตรงกัน คํานวณผลลัพธ์ต่างกัน (Duplication and Inaccuracy) ขาดความยืดหยุ่นของระบบ(Flexibility) Manual/RepetitiveOperational(KeyIn,Calculate,Filter,DQC) ขาดการบูรณการข้อมูล(Integration)
ติดตามแหล่งข้อมูล หรือจัดหาข้อมูลใหม่ๆ
ขาดการติดตามโครงการ(Tracking)
บุคลากรต้องอาศัยความรู้เฉพาะบุคคล
การออกแบบผังการไหลของข้อมูลต้องคํานึงถึงหลักธรรมภิบาลข้อมูลที่เป็นส่วนสําคัญ อย่างยิ่ง และมีส่วนในการจัดการผังการไหลของข้อมูลสําหรับข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) โดยความสัมพันธ์ดังกล่าวจะมีผลต่อการออกแบบผังการไหลของข้อมูลในทุกขั้นตอนของศูนย์ฯ ทางที่ปรึกษาจึงนําเสนอแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practice) สําหรับการจัดการการไหล ของข้อมูล โดยยึดจากแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดของการทํา Data Management ประกอบด้วย 4 ข้ันตอนหลัก คือ (1) Collect (2) Govern (3) Transform และ (4) Share
- สําหรับการออกแบบ Workflow ในระดับ Logical Model ที่ปรึกษาได้จัดทํา มาเป็น 3 ขั้นตอน คือ
- ระยะที่ 1 มีจุดประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการภายในให้เป็นแบบอัตโนมัติ (Automation) ให้มากยิ่งขึ้น ลดความผิดพลาดที่เกิดจากมนุษย์และประหยัดเวลาการ ทํางานของผู้รับผิดชอบ พัฒนา Meta data การจัดทํา Business Glossary และ Data Catalog เพื่อให้ระบุแหล่งที่มาข้อมูลและองค์ประกอบอื่น ๆ ที่จําเป็นต่อการทํางาน และเพื่อกําหนดสิทธ์ิ การเข้าถึงข้อมูลตามข้อกํากับในธรรมาภิบาลข้อมูล
-
3/9/63 - 7








































































   686   687   688   689   690