Page 613 - NEIC_FINAL REPORT_Appendix
P. 613

 ▪ SDU ขอบเขตระบุโดยสํานักนายก
• ข้อดีมีอิสระสามารถหาบุคลากรที่มีความสามารถได้ • ข้อเสียยังต้องอิงกับระเบียบของต้นสังกัด
▪ องค์การมหาชน เป็นอิสระ
• ข้อดีมีอิสระสามารถหาบุคลากรที่มีความสามารถได้
• ข้อเสียสามารถทําได้ยาก
o ท่ีปรึกษาเห็นว่าในระยะสั้นนั้นศูนย์ฯ ควรอยู่ในส่วนราชการก่อน และตั้งเป้าหมายว่าในอนาคต
อยากจะไปเป็นองค์การมหาชน ซึ่งตรงนี้จะสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
o ด้านการพัฒนาบุคลากร ในช่วงแรกมีทั้งเจ้าหน้าที่ภายในและจ้างที่ปรึกษาภายนอก โดยมี
กลุ่มคน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการที่มีความเป็นผู้นําด้านดิจิทัลภาครัฐ และ กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล; ในระยะยาว เตรียมความพร้อมในการพัฒนาบุคลากรตามกลุ่มเป้าหมาย เช่น สถาบันส่งเสริม การวิเคราะห์และบริหารข้อมูลภาครัฐ ร่วมมือพัฒนาบุคลากรด้าน data scientists
o การพัฒนาบุคลากรภายใน ควรจัดให้มีกลุ่มงานคือ กลุ่มงานระบบสารสนเทศ (Information System) กลุ่มงานกลยุทธ์ข้อมูลองค์กร (Enterprise Data Strategy) งานบริหารข้อมูล (Data Operation Management) กลุ่มงานวิเคราะห์ธุรกิจและข้อมูล (Business and Data Analytics) โดยมีเจ้าหน้าที่ 3 ระดับ คือ ระดับบริหาร ระดับปฏิบัติการ และระดับสนับสนุน และมีการพัฒนาทักษะ ด้าน data science ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านกฎหมาย ด้านประชาสัมพันธ์
3. การศึกษาและถอดบทเรียนจากหน่วยงานต้นแบบท่ีดีBestPractices(TORข้อ3.7) 1) ที่ปรึกษาได้นําคณะสนพ.เข้าศึกษาหน่วยงานต้นแบบ2หน่วยงานคือ
a. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ํา(สสน.)สิ่งท่ีสรุปได้จากการศึกษาคือ
- การบริการจัดการข้อมูล การพัฒนาธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐเพื่อใช้ในการกําหนดกรอบ การขอข้อมูลและการใช้ข้อมูล อีกทั้งมีการใช้อุปกรณ์ในการเก็บข้อมูลเอง และ กําหนดกลุ่มงาน ที่รับผิดชอบให้ชัดเจน
- การเชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูล เป็นการทํา MOU และขอข้อมูลตามพระราชกฤษฎีกา จากหน่วยงานพันธมิตร 42 หน่วยงาน มีการให้บริการข้อมูลและแลกเปล่ียนข้อมูลแบบ Open Data
และมีการรักษาความปลอดภัยข้อมูลตามพระราชบัญญัติ และพระราชกฤษฎีกาต่าง ๆ คือ • พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารภาครัฐพ.ศ.2540
7/4/63 - 5



















































































   611   612   613   614   615