Page 603 - NEIC_FINAL REPORT_Appendix
P. 603
▪ สิ่งแวดล้อม : การปล่อยมลพิษและใช้พลังงาน พลังงานทดแทน ซึ่งพลังงาน จะผูกประเด็นกับมลพิษ ภัยแล้ง และอื่น ๆ จะเก่ียวเนื่องมากข้ึน
▪ กฎหมาย : พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ.2562 คุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล พ.ศ.2562 ว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
o เมื่อดูด้านทรัพยากร ต้องดูว่ามีเพียงพอหรือไม่โดยดูจาก 7S: กลยุทธ์ (Strategy) โครงสร้าง องค์การ (Structure) ระบบขององค์การ (System) บุคลากร (Staff) ความสามารถขององค์การ (Skills) รูปแบบการทํางาน (Style) ค่านิยมร่วม (Shared values)
o Stakeholder analysis ดูว่าภายใต้สภาพแวดล้อมนั้น อะไรที่จะช่วยให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งต้อง วิเคราะห์ถึง: ผู้จัดสรรงบประมาณ – มีผลต่อการได้รับงบประมาณสําหรับการลงทุนของศูนย์ฯ; ผู้ออกกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงานของศูนย์ฯ – มีผลต่อกฎหมายท่ีให้อํานาจศูนย์ฯ หรือ กฎหมายที่มีผลต่อความยากง่ายในการดําเนินการของศูนย์ฯ; ผู้รับบริการ – มีผลต่อการกําหนด รูปแบบการให้บริการของศูนย์ฯ ซึ่งต่อเนื่องมาถึงกระบวนการภายในของศูนย์; ผู้ส่งมอบข้อมูล – มีผลต่อปริมาณ คุณภาพของ ข้อมูล สารสนเทศ ที่ศูนย์ฯ จะนํามาใช้ดําเนินการต่อไป; ผู้ส่งมอบ ปัจจัยการดําเนินการ – มีผลต่อปริมาณ คุณภาพ ของอุปกรณ์ เครื่องมือ ระบบปฏิบัติการ ที่ศูนย์ฯ จะนํามาใช้ดําเนินการต่อไป
o จุดแข็ง จุดอ่อน:
▪ จุดแข็ง คือ ศท. มีความเข้าใจในทิศทาง มีเครือข่ายที่ปรึกษาท่ีสนับสนุนการดําเนินงานได้
หน่วยงานภายนอกให้การยอมรับ มีฐานข้อมูลท่ีสามารถนําไปต่อยอดได้
▪ จุดอ่อน คือ ยังไม่มีแผนการดําเนินงานชัดเจน โครงสร้างของศูนย์ ปัจจุบันยังไม่เหมาะ กับการเป็นศูนย์ อุปกรณ์และบุคลากรต้องมีการพัฒนา ไม่มีอํานาจในการขอความ
ร่วมมือโดยเฉพาะหน่วยงานนอกกระทรวง
▪ โอกาส คือ ศูนย์จะได้รับองค์ความรู้จากหน่วยงานอื่นมากขึ้น จะมีกฎหมายเพื่อให้
อํานาจศูนย์ มีแผนงานที่จะทําให้ได้รับทรัพยากรที่มากขึ้น ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงส่ือ
digital ได้มากขึ้น สามารถสร้างกระบวนการใหม่ที่ดีข้ึนได้ และสร้างบุคลากรใหม่ได้
▪ ภัยคุกคาม คือ ต้องใช้เงินลงทุนมาก เมื่อมีคนมากขึ้นความต้องการหลากหลายขึ้นทําให้ ต้องปรับตัวเพื่อตอบสนองความต้องการ และปรับปรุงบุคลากร และต้องเข้าใจ
ผู้เกี่ยวข้องมากขึ้นเพ่ือตอบสนองผู้ใช้
3/4/63 - 3