Page 462 - NEIC_FINAL REPORT
P. 462
ดังน้ัน โดยสรุปข้อมูลในส่วนของขบวนกํารกลั่นเป็นข้อมูลทํางด้ํานเทคนิคล้วน ๆ ซ่ึงไม่เกี่ยวข้องกับกํารวํางแผนนโยบําย พลังงําน เช่น oil plan โดยตรง แต่เป็นเรื่องภํายในของแต่ละโรงกลั่น แต่สิ่งที่จะส่งผล ต่อกํารกําหนดนโยบํายและควรมีกําร จัดเก็บข้อมูลในครบถ้วนถ้วน (Gap) คือ
o ผลิตภัณฑ์น้ํามันที่ผลิตได้(เช่นเบนซินดีเซล)ของแต่ละโรงกลั่นโดยควรจะมีควํามละเอียดระดับรํายวัน(ดูรํายละเอียด ในส่วนของตํารํางผลิตภัณฑ์น้ํามันข้ํางล่ําง)
o %กํารใช้กําลังกํารกลั่นซ่ึงจะมีควํามสําคัญเก่ียวกับควํามม่ันคงทํางด้ํานพลังงําน
o Cutofthebarrelของโรงกลั่นคือสัดส่วนของน้ํามันแต่ละประเภทที่โรงกล่ันแต่ละแห่งผลิต
o Gross Refining Margin (GRM) ของแต่ละโรงกลั่น ซ่ึงคือ ส่วนต่ํางระหว่ํางรําคําขํายส่งน้ํามัน หน้ําโรงกลั่นกับต้นทุน
น้ํามันดิบ ซ่ึงแสดงถึงผลกําไรเบ้ืองต้นของโรงกลั่น
o ประสิทธิภําพกํารใช้พลังงํานของโรงกลั่น (EI) ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อกํารจัดทํา EEP
- การใช้ ในกรณีนี้กํารใช้ (end use) จะเกี่ยวข้องกับกํารนํา condensate ไปเป็นวัตถุดิบของปิโตรเคมี (Gap) ซึ่งควรมี กํารจัดเก็บข้อมูลในส่วนนี้
- การส่งออก จะเป็นข้อมูลกํารส่งออกของทั้งน้ํามันดิบ (ถ้ํามี) และคอนเดนเสท (ถ้ํามี)
- สต๊อก จะเป็นกํารเก็บข้อมูลทั้งทํางสต๊อกทํางธุรกิจ และควรเก็บข้อมูลกํารสํารองทํางกฎหมําย แยกรํายโรงกลั่น ตําม ปริมําณและช่วงเวลํา (รํายเดือน) รวมทั้งน้ํามันท่ีอยู่ระหว่ํางกํารขนถ่ํายด้วย (Gap)
- ราคา รําคําของน้ํามันควรมีกํารเก็บจํากทุกชนิดและทุกแหล่งกํารจัดหํา โดยควรเป็นข้อมูลรํายวัน รวมถึงข้อมูลค่ําขนส่ง กรณีนําเข้ํา (Gap)
- ข้อมูลอื่น ๆ เช่น ข้อมูล socio – economic ต่ําง ๆ เช่น GPP และประชํากร เพื่อใช้ในกํารคํานวณ index ต่ําง ๆ เช่น เดียวกับในกรณีของถ่ํานหิน รวมถึง ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกฎระเบียบ คําสั่งทํางด้ํานน้ํามันดิบและคอนเดนเสท และงํานวิจัยและ ควํามรู้ด้ํานวิชํากํารต่ําง ๆ
2.2.3.3 กลุ่มพลังงานก๊าซธรรมชาติ
ในสว่ นของกํา๊ ซธรรมชําตนิ นั้ โดยภําพกวํา้ งๆ กจ็ ะมลี กั ษณะคลํา้ ยๆกบั กรณนี ํา้ มนั ดบิ ทกี่ ลํา่ วไวข้ ํา้ งตน้ กลํา่ วคอื เปน็ ทรพั ยํากรที่ มบี ํางสว่ นผลติ จํากแหลง่ ในประเทศ และมบี ํางสว่ นทตี่ อ้ งนํา เขํา้ โดยกํารผลติ จํากแหลง่ ในประเทศ จะขนสง่ จํากแหลง่ ผลติ โดยใช้ ระบบทอ่ ขนสง่ กํา๊ ซเขํา้ สโู่ รงแยกกํา๊ ซ ซงึ่ ทํา หนํา้ ทคี่ ลํา้ ย โรงกลนั่ นํา้ มนั (แปรรปู ) สว่ นทนี่ ํา เขํา้ จํากตํา่ งประเทศกม็ ที งั้ ผํา่ นระบบทอ่ และมําทํางเรือ ซึ่งในที่สุดก๊ําซจํากทุกแหล่งก็จะถูกส่งเข้ําระบบท่อขนส่ง ทํางบกไปให้ผู้ใช้กลุ่มต่ําง ๆ ซึ่งระบบกํารจัดเก็บข้อมูล ท่ีแสดงให้ใน ตาราง 2.2-11 ถึง ตาราง 2.2-14 ก็จะเป็นไปในลักษณะเดียวกันกับกรณีข้ํางต้น คือ ตําม Business Process ท่ี ใช้กับกรณีก๊ําซธรรมชําติ
ตาราง 2.2-11 จะแสดงทะเบียนตํามกลุ่มข้อมูลปัจจุบันของ สนพ. โดยมีคํานิยํามเพิ่มเติม เช่น
- MMBTU
- MMSCF
- MMSCFD
ตาราง 2.2-12 ถึงตํารําง 2.2-14 แสดงผลกํารวิเครําะห์ Gap Analysis ของกรณีก๊ําซธรรมชําติ ซึ่งจะสอดคล้องกับ
Business Process ที่แสดงไว้ใน รูปที่ 2.2-6 ข้ํางล่ํางดังน้ี
Strategic Design and Development Study of the National Energy Information Center to Support National Energy Plan โครงการศึกษาการจัดทําาแผนยุทธศาสตร์และออกแบบการพัฒนาศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติ เพื่อรองรับการใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ในการขับเคล่ือนแผนพลังงานของประเทศไทย
เท่ํากับ ล้ําน BTU
เท่ํากับ ล้ํานลูกบําศก์ฟุด เท่ํากับ ล้ํานลูกบําศก์ฟุตต่อวัน
2-288