Page 692 - NEIC_FINAL REPORT_Appendix
P. 692

 4.
5) ระบบต้นแบบสาธิต(Prototype)จัดทําขึ้นเพื่อแสดงถึงการออกแบบที่นําเสนออย่างเป็นรูปธรรม โดยตัวระบบแบ่งการทํางานออกเป็นสามส่วน คือ 1) ส่วนของข้อมูลเข้า หรือ Data Acquisition 2) ระบบจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ หรือ Big Data Management System 3) การนําเข้ามูล ไปใช้งาน เช่น โดยการแสดงผลทางทัศนภาพ (Visualization) หรือการสร้างรายงานรายวัน อัตโนมัติ (Automatic Daily Report) เป็นต้น ซึ่งทั้งสามส่วน เป็นการสาธิตการนําเอาระบบ การประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูลพลังงานของประเทศ โดยที่ปรึกษา จัดทํา Dashboard การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ข้อมูลด้านปิโตรเลียมมาแสดงถึงมิติต่าง ๆ ของ ข้อมูลปิโตรเลียมของชาติ ดังตัวอย่าง Dashboard วิเคราะห์ข้อมูล
การออกแบบโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี (IT Infrastructure Layer) ใช้แนวคิดในการ ออกแบบแบบหลายช้ัน เพื่อแยกการทํางานของส่วนกายภาพ (Physical Layer) ส่วนระบบ (System Layer) และ ส่วนข้อมูล/บริการ (Data/Service Layer) ออกจากกัน
-
• •
ข้อเสนอวิธีการตรวจสอบความผิดปกติของข้อมูล (Outlier Detection)
ใช้VisualizationToolsร่วมในการตรวจสอบOutlier
ใช้เทคนิคการวิเคราะห์อนุกรมเวลาในการตรวจสอบOutlierโดยหาก ข้อมูลอยู่นอกเขต 95% Prediction Interval ท่ีได้จากการวิเคราะห์อนุกรม เวลาจะถือว่าข้อมูลมีความผิดปกติ
 5. การจัดทําธรรมาภิบาลข้อมูลด้านพลังงาน
1) นโยบายธรรมาภิบาลข้อมูลด้านพลังงานหลักการสําคัญของธรรมาภิบาลข้อมูลได้แก่การสร้าง ความสมดุลระหว่างการสร้างคุณค่าจากข้อมูลและการบริหารความเสี่ยงและความเข้ากันกับ กฎระเบียบและมาตรฐานอย่างเหมาะสม (Balance between value creation, and risk and compliance) )
- ที่ปรึกษาจัดทําร่างนโยบายธรรมาภิบาลข้อมูลเพ่ือเป็นการต้ังต้นการจัดทําธรรมาภิบาล ข้อมูลสําหรับศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติ ซึ่งกรอบร่างนโยบายธรรมาภิบาลข้อมูล แบ่งออกเป็น 4 ส่วนดังนี้
• ส่วนที่1การกํากับดูแลข้อมูล(DataGovernance)เพื่อกําหนดโครงสร้างของการ กํากับดูแลข้อมูลในศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติ บทบาทหน้าที่
3/9/63 - 11






















































































   690   691   692   693   694