Page 220 - NEIC_FINAL REPORT_Appendix
P. 220

 ไฟฟ้า : ได้ข้อมูลมาจากแหล่งเดียวกัน แต่ พพ. ได้ดูภาคส่วนของอ่ืน ๆ ซ่ึงขอข้อมูลไฟฟ้าสัมปทานจาก สัตหีบ ตามแผน AEDP รวมข้อมูลจากแหล่งอื่นที่สามารถหาได้ จึงทําให้ พพ. มีข้อมูลละเอียดและครบถ้วน
ประเด็นหารือที่ 2 : KPI ของกระทรวง
ทางประธานอยากทราบว่าหน่วยงานของสํานกังานคณะกรรมการพฒันาระบบราชการ(กพร.)ที่ใช้EI เป็นดัชนีชี้วัดผลงานหรอืความสําเรจ็ของงาน(KPI)ของกระทรวงพลังงานทําไมถึงใช้ข้อมูลและใช้เป้าหมายของ พพ. แต่ใช้ตัวเลขของสนพ. เป็นหลัก
ทางสนพ. ได้แจ้งว่าในอดีตเคยใช้ข้อมลู แต่ข้อมูลมาไม่ครบถ้วน สนพ.จงึ ได้รับคําส่ังให้ตั้ง KPI ในการวัด EI เป็นหน้าที่ของ สนพ. โดยมีการเขียนเง่ือนไขผูกไปว่าจะเป็นอย่างไร แต่ไม่มีความชัดเจนว่าเป็นหน้าท่ีของ หน่วยงานใดในการเก็บข้อมูลน้ี
ประเด็นหารือที่ 3 เร่ืองของการนิยาม EI
ทางสนพ. ได้แจง้ ว่าในการวัด EI รวมท้ังพลงั งานทดแทนด้วย แผน EEP และ AEDP – efficiency ของ RE นั้นต่างจากพลังงาน fossil fuel แต่ carbon credit ดีขึ้น จึงเสนอให้วาง definition ของ EI ใหม่ จะได้ไม่มี ความขัดแย้งในนโยบาย และการรองรับนโยบายใหม่ เช่น นโยบาย Green Building ของสหรัฐอเมริกา และให้ สอดคล้องกบั ภาพรวมของโลกท่ีจะนํา Renewable Energy (RE) มาใช้มากข้ึน
ประเด็นหารือที่ 4 เป้าหมายของกระทรวง
ทางประธานได้สอบถามว่าหากมีการปรับคํานิยามแต่ละข้อจะมีการทําให้ข้อมูลเดิมผิดเพี้ยนในการ เก็บข้อมูลไหม
ทางที่ปรึกษาได้แจ้งว่าคํานิยามควรคงไว้แบบเดิม เนื่องจากเป็นมาตรฐานของต่างประเทศท่ใี ช้กันอยู่ และเมื่อได้มีการตกลงกับหน่วยงานต่างประเทศไว้ ดังนั้นจึงอาจจะต้องมีการทํา guideline ตามมาตรฐาน ของต่างประเทศ
จากประเด็นในการแก้ไขเป้าหมายท่ีต้ังไว้ที่ 7.7 ของกระทรวงพลังงาน - ประธานอยากแจ้งให้ชัดเจน ว่า ในระยะสั้นไม่สามารถแก้ไขตัวชี้วัดนั้นได้ แต่ให้หาจุดร่วมในการแก้ปัญหาระยะยาวว่าวิธีเก็บข้อมูลและ วิธีคํานวณจะเป็นอย่างไร โดยต้องให้มีคนกํากับดูแล (regulator) เข้าร่วมประชุมด้วย สนพ. ไม่ต้องเก็บข้อมูล เอง ให้ พพ. เป็นเจ้าของข้อมูลน้ัน โดยต้องเผยแพร่ให้เร็วข้ึนโดยส่งข้อมูลให้กับ สนพ เผยแพร่ต่อไปได้
4/9/62 - 3
























































































   218   219   220   221   222