Page 468 - NEIC_FINAL REPORT
P. 468

รูปท่ี 2.2-6 แสดง Business Process ของก๊ําซธรรมชําติและกํารทํา Gap Analysis ซึ่งมีข้อสรุปคือ
• กรณีทะเบียนผู้ประกอบกํารควรมีกํารจัดเก็บข้อมูลทะเบียนผู้ประกอบกํารที่เกี่ยวข้องก๊ําซธรรมชําติทั้งหมด (Gap)
• กรณี Capacity ซ่ึงมีหลํายส่วนของกิจกํารนี้ แต่ที่ควรมีกํารเก็บเพิ่มเติม (Gap) คือ รําคําและกําลัง กํารขนส่งของระบบ
ท่อก๊ําซธรรมชําติทั้งหมดของประเทศทั้งท่อบนบก และท่อในทะเล และท่อขนส่งก๊ําซและท่อจําหน่ํายก๊ําซ นอกจํากนี้ควรจัด เก็บข้อมูลเกี่ยวกับระบบนําเข้ําก๊ําซธรรมชําติ ทั้งทํางท่อและทํางเรือ (นําเข้ํา) โดยเฉพําะในรูปแบบ LNG ซ่ึงควรรวมถึงระบบ Processing plant ต่ําง ๆ และระบบ Floating Storage ท้ังหมด
• กํารจดั หํา ควรเกบ็ ขอ้ มลู กํารสํา รวจกํา๊ ซธรรมชําตจิ ํากแหลง่ ผลติ ในประเทศทงั้ บนบกและในทะเลซงึ่ ลงถงึ รํายแปลงสํา รวจ และผลิต หลุมผลิต พิกัด และผลของกํารสํารวจและผลิต กรณีของปริมําณสํารองทํางธรณีวิทยํา ควรเก็บข้อมูลเพ่ิมเติม (Gap) โดยแยกเป็นแปลงสํารวจและผลิตของผู้ประกอบกํารแต่ละรําย โดยระบุข้อมูลเป็นรํายแปลง กรณีนําเข้ําควรเก็บข้อมูลประเทศ ต้นทํางเพิ่มเติมจํากปริมําณและรําคํานําเข้ํา
• กรณีของกํารใช้ ควรแยกกํารใช้ในภําคอุตสําหกรรมเป็นในส่วนของโรงงํานควบคุมรํายจังหวัด และโรงงํานอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ โรงงํานควบคุมรํายจังหวัด และเก็บข้อมูล EI ของแต่ละประเภทผู้ใช้เพ่ือปรับปรุงกํารทําแผน EEP (Gap) และควรเก็บข้อมูล ระบบจัดส่งก๊ําซทุกรูปแบบ ท้ังในระบบท่อจําหน่ําย ระบบรถบรรทุก และระบบอื่น ๆ ที่เก่ียวข้องกับระบบจําหน่ําย (Gap)
• กํารแปรรูป ขบวนกํารกํารแปรรูปก๊ําซ (Gas separation plant) จะมีขบวนกํารคล้ํายๆ กับขบวนกํารกล่ันน้ํามันที่พูดถึง ไว้ข้ํางต้น แตกต่ํางตรงท่ีจะเป็นกํารกลั่นเฉพําะ Cut ท่ีเป็นส่วนของก๊ําซ และ light end ซึ่งจํากรูป 2.2.3.3-2 แสดงขบวนกําร แยกก๊ําซอย่ํางง่ํายๆ โดยก๊ําซธรรมชําติจํากแหล่งผลิตที่เป็น Wet gas (คือมีองค์ประกอบอื่น ๆ นอกไปจํากก๊ําซมีเทน หรือ (C1) ซึ่งเป็น Feed gas จะถูกส่งเข้ําขบวนกํารแยก โดยจะเอําสํารปรอท กํามะถัน ไนโตรเจน น้ํา ที่ปะปนมําออก และก๊ําซจะถูกส่งต่อ ไปเข้ําขบวนกํารแยกเอํา ก๊ําซมีเทน (C1) ออกไป ซึ่งก๊ําซส่วนนี้ (Sales gas) ปกติจะส่งเข้ําท่อส่งก๊ําซไปยังผู้ใช้ในโรงไฟฟ้ํา และ โรงงํานอุตสําหกรรม ส่วนก๊ําซส่วนท่ีเหลือก็จะถูกแยกออกเป็น hydrocarbon ชนิดอ่ืน ๆ เช่น อีเทน (C2) บิวเทน (C3) โพนเพน (C4) และ NGL (C5+) เป็นต้น โดยจะผ่ํานขบวนกํารสกัดกํามะถัน และกํารปรับปรุงคุณภําพออกก่อนส่งไปขํายต่อ โดยปกติ C2 จะถูกนําไปใช้เป็นวัตถุดิบปิโตรเคมี C3 และ C4 จะถูกนําไปผสมเป็น LPG และบํางส่วนรวมทั้ง C5+ จะถูกนําไปใช้เป็น Feed ของทั้งโรงงํานปิโตรเคมีหรือเข้ําโรงกลั่นน้ํามันแล้วแต่รําคําขํายในขณะนั้น เมื่อเทียบกับรําคําของ Feed อื่น ๆ ดังนั้นกํารเก็บ ขอ้ มลู เพอื่ ใชป้ ระกอบกํารกํา หนดนโยบําย อําจไมจ่ ํา เปน็ ตอ้ งเกบ็ ขอ้ มลู ทํางเทคนคิ เกย่ี วกบั ขบวนกํารแยกกํา๊ ซ แตค่ วรเกบ็ เฉพําะ ข้อมูลผลผลิตที่โรงแยกก๊ําซผลิตออกมําได้ก็เพียงพอ
• กํารส่งออก ควรแยกเป็นประเทศที่มีกํารส่งออก (ถ้ํามีในอนําคต) แยกรํายบริษัทผู้ส่งออก ปริมําณ และมูลค่ํากํารส่งออก เพ่ือสนับสนุนนโยบํายให้ประเทศไทยเป็น Hub ของ LNG ของภูมิภําคของรัฐบําล
• ข้อมูลอื่น ๆ เช่น ข้อมูล socio – economic ด้ําน GPP ประชํากร กํารคํานวณหํากํารรํายหัวของประชํากร รํายจังหวัด ควรมีกํารจัดเก็บรวมถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกฎระเบียบต่ําง ๆ และข้อมูลด้ํานกํารค้นคว้ําวิจัยที่เกี่ยวข้องกับก๊ําซธรรมชําติ
 2-294
Strategic Design and Development Study of the National Energy Information Center to Support National Energy Plan โครงการศึกษาการจัดทําาแผนยุทธศาสตร์และออกแบบการพัฒนาศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติ เพื่อรองรับการใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ในการขับเคล่ือนแผนพลังงานของประเทศไทย
























































































   466   467   468   469   470