Page 495 - NEIC_FINAL REPORT_Appendix
P. 495

 • ท่ีปรึกษาแจ้งความต้องการเร่ืองการจัดเก็บข้อมูลอาจต้องการเป็นทั้งข้อมูลดิบและข้อมูล ประเภทวิเคราะห์แล้ว จัดเก็บเป็น 2 levels ได้ เพ่ือจะสามารถนําข้อมูลดิบท่ีมีอยู่ไปประกอบกับการวิเคราะห์ กับข้อมูลดิบตัวอ่ืน ๆ ประกอบกัน ส่วนจะเผยแพร่ได้หรือไม่ และการจัดข้อมูลช้ันความลับ ต้องหารือกันอีก ในอนาคต
• พพ. จัดเก็บข้อมูลประเมินศักยภาพ โดยมีการประเมินในแต่ละครั้งของการจัดเก็บข้อมูล เช่น การจัดเก็บข้อมูล biomass ต้องประเมินจากหลายปัจจัย การเปลี่ยนแปลงจากเศรษฐกิจ หรือ โรงงาน อุตสาหกรรม ยังไม่สามารถวิเคราะห์ได้ว่า จะให้ข้อมูลส่วนใดได้ เนื่องจากบางข้อมูลเป็น secondary จากหน่วยงานอื่นที่นํามาวิเคราะห์ ยังหากรอบในการส่งข้อมูลไม่ชัดเจน
• ความถ่ีในการประเมินศักยภาพจะประเมินตอนทําแผนทุกปีไม่ได้reviseระหว่างกลาง3-4ปี ทําแผนครั้งนึง จะมีการ revise เป็นครั้งคราว ข้ึนอยู่กับนโยบาย ณ ช่วงเวลานั้น
• เบ้ืองต้นจะส่งข้อมลู 4ส่วนหลักท่ีพพ.มีข้อมูลอยู่แล้วจะให้ได้ในส่วนแรกส่วนรายละเอียดอื่นๆ ย่อยจะขอดูอีกคร้ังว่าจะให้ได้หรือไม่ได้อย่างไร ก็จะให้แต่ละกองไปดูข้อมูลย่อย ๆ ของตัวเองหรือ project base ของตัวเองอีกที โดยให้ศูนย์ระบบสารสนเทศ ของ พพ. ดูข้อมูลและเป็นผู้ประสานงาน
• ส่วนdatawarehouseเป็นข้อมูลที่ให้ได้เพราะกรมฯได้กรองมาแล้วเพื่อใช้งาน
• ส่วนdatawarehouseของกรมฯได้จ้างบริษัทINETเป็นผู้จัดทําระบบข้อมูลโดยทางพพ.จะ
เป็นผู้ส่งมอบข้อมูลให้กับทางศูนย์ข้อมูล big data เอง
• พพ.มีbigdataในภาคขนส่งกําลังออกแบบตัวระบบอยู่วัตถุประสงค์เพ่ือใช้ในการติดตาม แผนปฏิบัติการในภาคขนส่ง และเพื่อใช้ในการ forecast เร่ืองขนส่งด้วย พยายามจะรวมศูนย์ข้อมูลท่ีเป็นเร่ือง ของการขนส่งพลังงานทางน้ํา ทางอากาศ ทางบก เข้ามารวมในระบบตรงนี้ ซ่ึงเมื่อสําเร็จจะเป็นส่วนหน่ึงที่จะ เข้าไปสู่ข้อมูล big data ใหญ่ได้ แต่ยังอยู่ในช่วงการเข้าข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือมาออกแบบตัวระบบ เพื่อรองรับซึ่งสุดท้ายจะได้ตัว platform เร่ืองการติดตาม เรื่องการ forecast ในอนาคต
• ปัญหาตอนนี้คือแต่ละส่วนงานมีข้อมูลแต่ละระดับไม่เท่ากันทางอากาศมีข้อมูลไม่มากทางบกมีขบ. กับ สนข. เป็นเจ้าภาพ ทางน้ํามีกรมเจ้าท่าเป็นเจ้าภาพแต่ไม่ได้เก็บข้อมูลท่ีเป็นมิติทางพลังงาน และมีข้อมูลน้อย ระบบน้ีจะเน้นไปทางข้อมูลทางบกเป็นหลัก แต่จะพยายามเก็บข้อมูลให้ได้ทุกโหมด
• พพ.ฝากเร่ืองการกําหนดเป็นมาตรฐานกลางของกระทรวงที่ควรจะหามาตรฐานร่วมกันว่าการจัดทํา ฐานข้อมูล big data จะต้องมี requirement เริ่มต้นอย่างไร ตัว operation ต้องเป็นอย่างไร เพื่อให้หน่วยงานจะ ได้กําหนดเป็นแนวทางเดียวกัน เพ่ือกําหนดรูปแบบให้ตรงกัน และเพื่อง่ายต่อการพัฒนาระบบต่อไป
ปิดประชุมเวลา : 11.30 น.
พพ.-5























































































   493   494   495   496   497