Page 291 - NEIC_FINAL REPORT_Appendix
P. 291
3. รศ.ดร. จักรพงศ์ นาทวชิ ยั
4. รศ.ดร.วัฒนาวิริยสทิธาวัฒน์
5. ดร. พฤษภ์ บญุ มา
6. นางสาวอนงค์ภทัร์ทวิะศรีทศัน์
7. นางสาวจินตนา ศรศี ันสนยี
8. นายทศั นัย เพชรผงึ้
9. นายเดชา อปุ ถัมชาติ
10. นายอารักษ์ ปัญญาเอกผาติ
11. นางสกุลรตั น์ เจรญิ พงศ์
12. นายนรวิชญ์ อูนากูล
13. นางสาวพนมพร ชื่นชาติ
ท่ีปรึกษา/บุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถ ท่ีปรึกษา/บุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถ ท่ีปรึกษา/บุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถ ท่ีปรึกษา/บุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถ ที่ปรึกษา/บุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถ ทป่ี รึกษา
ผู้ช่วยผู้จดั การโครงการ ผู้ช่วยผู้จดั การโครงการ ผู้ช่วยผู้จดั การโครงการ ผู้ช่วยผู้จดั การโครงการ ผู้ประสานงาน
สรุปการประชุม
วาระท่ี 1 ศึกษากระบวนการจัดทําการพยากรณ์ข้อมูลพลงั งาน (Forecast) ในปัจจุบัน
เพื่อสํารวจวิธีการพยากรณ์ข้อมูลพลังงานและผลกระทบด้านพลังงานจากข้อมูลที่ สนพ. ได้รับและ จัดเก็บ ที่ปรึกษาประสงค์จะนําข้อมูลที่ได้มาเป็นองค์ประกอบในการวิเคราะห์และออกแบบแนวทางการ ดําเนินงานของศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติในอนาคต
วาระท่ี 2 รายละเอียดของการสํารวจ
สนพ. จัดทํา forecast ปีละ 2 ครั้ง และมีการทํา forecast ย่อยเป็นครั้งคราวตามภารกิจ
การ forecast เกี่ยวกับขนส่ง จะใช้ transport model ที่สร้างไว้ใน excel โดยที่ปรึกษาจาก Canada โดยใส่ factors ด้านขนส่งเข้าไป เช่น ข้อมูลจากกรมขนส่ง ตาม พ.ร.บ. ขนส่ง และการสํารวจด้านอื่นท่ีประกอบการ พยากรณ์ท่ีสอดคล้องกับแผนรายปี
การทํา load forecast จะเป็นการทําร่วมกับ EGAT ซ่ึงมีการจ้างท่ีปรึกษาจาก ม.ธรรมศาสตร์ในการสร้าง modelซึ่งข้อมูลจะได้มาจากการทําแบบสํารวจผู้ใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้า (End-usersurvey)และอาคารโรงงาน ควบคุม เป็นการทํา forecast ที่ไม่ได้ทําบ่อย
ความเห็นจากทางผู้ใช้ข้อมูล ต้องการให้ทางที่ปรึกษาทราบว่าการ forecast ส่วนใหญ่จะมีผลกระทบ ภายนอก (External factors) ท่ีอาจจะมาจะด้านเศรษฐกิจโลก นโยบายต่างประเทศที่มีผลกระทบด้านพลงั งาน และ ทิศทางท่ีอาจจะเปลย่ี นแปลงซ่ึงทางผใู้ ช้ไม่สามารถคาดเดาถึงได้ และพ้นวิสัยของการวิเคราะห์ ซึ่งผใู้ ช้อยากเห็นส่ิงน้ี เป็นภารกิจหน่ึงของศูนย์ฯ
20/11/62 บ่าย - 2